วันพุธที่ 24 มิถุนายน พ.ศ. 2552

ประวัติส่วนตัว



นางสาว ฉัตรธิดา วงศ์จอม

MISS CHATTIDA WONGJOM

รหัสนักศึกษา 50152792061

หลักสูตร บริหารธุรกิจ(คอมพิวเตอร์ธูรกิจ)คณะวิทยาการจัดการ

มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต

e-mail address:u50152792061


DTS 01-24-06-255

สรุปการเรียน Array and record

อะเรย์จะต้องมีการกำหนดชื่ออะเรย์พร้อม supscript
การกำหนดขอบเขตของอะเรย์มีได้มากกว่า 1 จำนวน
supscript จะเป็นตัวบอกมิติของอะเรย์นั้นและอะเรย์ที่มี
supscript มากกว่า 1 ตัวขึ้นไปจะเรียกว่า อะเรย์หลายมิติ
การจัดเก็บอะเรย์ในหน่วยความจำจะพิจารณาตามประเภทของอะเรย์ในมิติต่างๆ
การส่งค่าอะเรย์ให้ฟังก์ชันทำได้โดยการกำหนดค่า array element เป็น
พารามิเตอร์ส่งค่าให้กับฟังก์ชันทำได้โดยการอ้างถึงชื่ออะเรย์พร้อมระบุ
supscript
ถ้าไม่ได้ระบุอาร์กิวเมนต์ จะมีการสร้างอาร์เรย์ที่มีความยาวเท่ากับศูนย์ชนิดข้อมูล(Data type)ของตัวแปรคือเซตของค่าที่เป็นไปได้ของตัวแปรนั้น ซึ่งจะกำหนดเซตของ opertions ที่จะทำกับตัวแปรนั้นได้ด้วย ภาษาซีไม่ยอมให้ใช้งานตัวแปรก่อนประกาศค่า เนื่องจากการประกาศตัวแปรต้องบอกชนิดของข้อมูลด้วย จะทำให้ชุดคำสั่งทราบขนาดการจองที่ในหน่วยความจำหลัก ภาษาซีแบ่งประเภทข้อมูลออกเป็นชนิดต่างๆ เพื่อให้เหมาะสมกับการนำไปใช้งาน ข้อมูลแต่ละชนิดจะใช้ขนาดพื้นที่หน่วยความจำต่างกัน ตลอดจนช่วงของค่าข้อมูลที่จัดเก็บได้ก็แต่ต่างกันด้วย
ตัวแปร คือ ชื่อพื้นที่หน่วยความจำที่ตั้งขึ้นมาเพื่อใช้จัดเก็บข้อมูล การอ้างอิงผ่านชื่อตัวแปร จะสะดวกกว่าการใช้ตำแหน่งที่แท้จริง การตั้งชื่อตัวแปรจะเป็นไปตามข้อกำหนดของแต่ละภาษา
การประกาศตัวแปรของภาษาซี ใช้รูปแบบดังนี้
<ชนิดข้อมูล><ชื่อตัวแปร>[=ค่าเริ่มต้น][,ตัวแปร[=ค่าเริ่มต้น]];
ตัวอย่าง การประกาศและให้ค่าตัวแปรของภาษาซี
char msg []="your welcome";
int i, x=5;
float price, y=9.12;